งานฝา |
ลักษณะของปัญหา |
สาเหตุที่เป็นไปได้ |
แนวทางการแก้ไข |
 จุดด้าน(จุดคล้ายกำมะหยี่) |
 |
 |
|
 เกิดจากการขัดเงาในแม่พิมพ์ไม่ดีพอ |
 ขัดเงาผิวในแม่พิมพ์ |
 |
|
 อุณหภูมิแม่พิมพ์ต่ำมากเกินไป |
 ปรับอุณหภูมิของแม่พิมพ์ให้สูงขึ้น |
 |
 ชิ้นงานมีลักษณะฟองเล็กๆ |
 |
 |
|
 ระยะเวลาของรอบการผลิตสั้นเกินไป |
 เพิ่มระยะเวลาของรอบการผลิต |
 |
|
 ใช้ความดันในการอัดแม่พิมพ์ต่ำเกินไป |
 เพิ่มแรงกดของการอัดเนื้อพลาสติกลงในแม่พิมพ์ |
 |
|
 อุณหภูมิของแม่พิมพ์สูงเกินไป |
 ลดอุณหภูมิของแม่พิมพ์ลง |
 |
 ชิ้นงานผิวส้ม |
 |
 |
|
 เม็ดพลาสติกมีความชื้นปนเปื้อน |
 ทำการอบเม็ดพลาสติกก่อนทำการใช้ |
 |
|
 สภาพผิวของแม่พิมพ์ไม่ดี |
 ทำการขัดบริเวณผิวด้านในของแม่พิมพ์ |
 |
|
 แม่พิมพ์ประกบตัวเร็วเกินไปเนื่องจากความดันที่ใช้ในการประกบแม่พิมพ์สูง |
 ลดความเร็วรอบเพื่อให้แม่พิมพ์ประกบตัวช้าลง |
 |
 เส้นแนวการไหล |
 |
 |
|
 ความหนาของผนังมีค่าไม่คงที่ |
 ออกแบบชิ้นส่วนภายในแม่พิมพ์ใหม่ เพื่อให้ได้ผนังที่มีความหนาเป็นค่าเดียว |
 |
|
 ขนาดของ Gate เล็กเกินไป |
 เพิ่มขนาดของ Gate |
 |
|
 อุณหภูมิของแม่พิมพ์ต่ำ |
 เพิ่มอุณหภูมิแม่พิมพ์ |
 |
|
 อุณหภูมิในการหลอมเหลวต่ำ |
 เพิ่มอุณหภูมิในการหลอมเหลว |
 |
 มิติของชิ้นงานไม่คงที่ |
 |
 |
|
 ระบบ Runner ไม่สมดุล |
 ทำให้ขนาดของ Gate และ Runner สมดุลเพื่อทำให้การบรรจุสมดุล |
 |
|
 การเปลี่ยนแปลงความดันในการหลอม |
 เพิ่มความดันในการบรรจุ เพื่อเป็นการคงให้สภาวะการไหลส่วนมาก มีค่าความเร็วตามที่เลือกไว้ เพิ่มความดันในการอัดย้ำไปยังค่าที่มากที่สุด เพิ่มอัตราในการฉีด |
 |
|
 รีไซเคิลมีความไม่สม่ำเสมอในคุณภาพ |
 ตรวจสอบขั้นตอนในการผสมรีไซเคิล หรือ ลดการใช้รีไซเคิล |
 |
|
 การอัดตัวของเนื้อพลาสติกไม่ดีพอ |
 เพิ่มเวลาและความดันในการฉีดไปข้างหน้าเพื่อให้แน่ใจว่า Gate เกิดการแข็งตัวแล้ว |
 |
|
 การป้อนพลาสติกไม่สม่ำเสมอ |
 ปรับอุณหภูมิที่ใช้ในการบรรจุให้เหมาะสมเพิ่ม Shot size เพื่อให้ได้แรงกระแทกที่พอเหมาะ เปลี่ยน Check valve ถ้าไม่สามารถปรับแรงกระแทกให้พอเหมาะได้ |
 |
 รอยการไหลและ รอยตำหนิบนผิวหน้าของชิ้นงาน |
 |
 |
|
 สภาพผิวของแม่พิมพ์ไม่ดี |
 ทำความสะอาดและขัดบริเวณผิวด้านในของแม่พิมพ์ |
 |
|
 เม็ดพลาสติกเสียสภาพในระหว่างการหลอมขึ้นรูป |
 ลดอุณหภูมิในการหลอมขึ้นรูป |
 |
|
 ความเร็วที่ใช้ในการฉีดเนื้อพลาสติกเข้าแม่แบบต่ำเกินไป |
 เพิ่มความเร็วที่ใช้ในการฉีดเนื้อพลาสติกให้สูงขึ้น |
 |
|
 ผิวของแม่พิมพ์มีสารหล่อลื่นมากเกินไป |
 ใช้ปริมาณสารหล่อลื่นกับแม่พิมพ์ให้น้อยลง |
 |
|
 อุณหภูมิของเนื้อพลาสติกและแม่พิมพ์นั้นต่ำเกินไป |
 เพิ่มอุณหภูมิของเนื้อพลาสติกและแม่พิมพ์นั้นให้สูงขึ้น |
 |
 การลอกบริเวณผิวชิ้นงาน |
 |
 |
|
 มีการกักอากาศภายในแม่พิมพ์ |
 เพิ่มการระบายอากาศ |
 |
|
 อัตราในการฉีดต่ำ |
 เพิ่มความเร็วฉีด |
 |
|
 อุณหภูมิและการไหลของเนื้อพลาสติกเหลวไม่คงที่ |
 ใช้ความดัน back pressure ให้สูงขึ้น ปรับความเร็วหรือรอบในการหมุนของสกรู |
 |
|
 อุณหภูมิของพลาสติกเหลวและแม่พิมพ์นั้นต่ำเกินไป |
 ปรับเพิ่มลดอุณหภูมิของพลาสติกเหลวและแม่พิมพ์ |
 |
 เนื้อพลาสติกไม่เต็มแม่พิมพ์ |
 |
 |
|
 มีอากาศตกค้างทำเกิด Back pressur eภายในแม่พิมพ์ |
 เพิ่มรูระบายอากาศในแม่พิมพ์ให้มากขึ้น |
 |
|
 จำนวน gates ของแม่พิมพ์มีน้อยเกินไป |
 เพิ่มจำนวน gates ของแม่พิมพ์ |
 |
|
 ขนาดของ Runners/ gates และ nozzle เล็กเกินไป |
 ปรับขนาดของ Runners/ gates และ nozzleให้เหมาะสมกับการขึ้นรูปต่างๆ |
 |
|
 ความเร็วในช่วงเติมพลาสติกเหลวให้เต็มแม่พิมพ์ต่ำเกินไป |
 ปรับเพิ่มความเร็วในช่วงเติมพลาสติกเหลวให้เต็มแม่พิมพ์ให้สูงขึ้น |
 |
|
 Injection forward time และ boost time สั้นเกินไป |
 เพิ่มระยะเวลา forward และ boost time |
 |
|
 อุณหภูมิของเนื้อพลาสติกและแม่พิมพ์นั้นต่ำเกินไป |
 เพิ่มอุณหภูมิของระบบหล่อเย็นในระบบให้สูงขึ้น |
 |
|
 ความดันของการฉีดน้อยเกินไป |
 เพิ่มความดันของการฉีดให้มากขึ้น |
 |
 รอยจุดสีดำปนเปื้อน |
 |
 |
|
 ปริมาณ regrind มากเกินไป |
 ลดปริมาณ regrind |
 |
|
 ความเร็วรอบสกรูมากเกินไป |
 ปรับลดความเร็วรอบสกรู |
 |
|
 อุณหภูมิของเนื้อพลาสติกสูงเกินไป |
 ปรับลดอุณหภูมิของพลาสติกเหลว |
 |
 ปลดชิ้นงานออกจากแม่พิมพ์ยาก |
 |
 |
|
 การอัดตัวของเนื้อพลาสติกมากเกินไป |
 ปรับลดความดันในการฉีดขึ้นรูป และ ปรับลดเวลาของ forward timeในสกรู และ boost timeในระหว่างการฉีดขึ้นรูป |
 |
|
 ชิ้นงานเย็นตัวไม่สมบูรณ์ |
 ปรับเพิ่มเวลาในการหล่อเย็น ปรับลดอุณหภูมิของเนื้อพลาสติกเหลว ปรับลดอุณหภูมิของแม่พิมพ์ |
 |
|
 รอบระยะเวลาในการขึ้นรูปสั้นเกินไป |
 ปรับรอบระยะเวลาในการขึ้นรูปให้มากขึ้น |
 |
|
 ใช้ความดันสูงและเวลานานเกินไปในการขึ้นรูป |
 ปรับลดเวลาในการฉีดขึ้นรูปสำหรับ forward time และ boost time |
 |
|
 ลักษณะผิวแม่พิมพ์ไม่ดีพอ |
 ทำการขัดส่วนของด้านในแม่พิมพ์โดยเฉพาะด้านล่างสุด ตรวจสอบการชำรุดบริเวณผิวหน้าของแม่พิมพ์ เติมสารเติมแต่งจำพวก น้ำยาถอดแบบ |
 |
 การหดตัวของชิ้นงานมากเกินไป |
 |
 |
|
 เม็ดพลาสติกมีความหนาแน่นมากเกินไป |
 เลือกใช้เม็ดพลาสติกที่มีความหนาแน่นต่ำกว่า |
 |
|
 Cycle Time สั้นเกินไป |
 เพิ่มเวลาในการหล่อเย็นให้มากขึ้น |
 |
|
 ความเร็วในช่วงเติมพลาสติกเหลวให้เต็มแม่พิมพ์ไม่เหมาะสม |
 ปรับความเร็วในช่วงเติมพลาสติกเหลวให้เต็มแม่พิมพ์ให้เหมาะสม |
 |
|
 ความดันฉีด และ ความดันย้ำน้อยเกินไป |
 เพิ่มความดันฉีด และ ความดันย้ำ |
 |
|
 อุณหภูมิของเนื้อพลาสติกและแม่พิมพ์ ร้อนหรือเย็นเกินไป |
 ปรับอุณหภูมิของเนื้อพลาสติกและแม่พิมพ์ให้เหมาะสม |
 |
 ชิ้นงานเปราะ |
 |
 |
|
 ปรับขนาดของ gate ให้ใหญ่ขึ้น และย้าย Gate ออกจากบริเวณที่เป็นจุดความเครียด |
|
 |
|
 ขนาดของ Gate เล็กเกินไป และที่ตั้งไม่เหมาะสม |
|
 |
|
 เวลาที่ใช้ในการหลอมพลาสติกนานเกินไป |
 ลด Cycle Time |
 |
|
 สิ่งปนเปื้อน |
 ตรวจสอบสิ่งเจือปนในเม็ดพลาสติก และล้างเครื่องจักรให้สะอาด |
 |
|
 มีส่วนผสมของ recycle หรือ regrind มากเกินไป |
 ลดส่วนผสมของrecycle หรือ regrind |
 |
|
 พลาสติกเสื่อมสภาพ |
 ปรับลดอุณหภูมิในระหว่างการขึ้นรูป |
 |
งานท่อ |
ลักษณะของปัญหา |
สาเหตุที่เป็นไปได้ |
แนวทางการแก้ไข |
 คราบไหม้สะสมหน้าดายน์ |
 |
 |
|
 ช่วงอุณหภูมิหน้าดายน์สูงเกินไป |
 ตรวจสอบช่วงอุณหภูมิหน้าดายน์ให้เหมาะสม |
 |
|
 อุณหภูมิหลอมเหลวของเม็ดสูงเกินไป |
 ลดความดันย้อนกลับ โดยการเพิ่มเส้นผ่าศูนย์กลางของดายน์ หรือช่องว่างของดายน์ ลดอุณหภูมิพลาสติกเหลว โดยลดอัตราการอัดรีด ลดแรงเฉือนลง โดยการลดความเร็วรอบสกรู หรือเพิ่มความลึกของช่องสกรู |
 |
 การเกิดรูอากาศในเนื้อท่อ |
 |
 |
|
 ชุดหัวดายน์สกปรก |
 ทำความสะอาดฝุ่นละออก และสิ่งปนเปื้อนที่ติดอยู่ที่หน้าดายน์ ออกเป็นประจำ |
 |
|
 การเสื่อมสภาพของเม็ดพลาสติก |
 ลดอุณหภูมิพลาสติกเหลว เพิ่มความเร็วรอบสกรูในเครื่องอัดรีด ลดความดันย้อนกลับในเครื่องอัดรีด |
 |
|
 ปัญหาความชื้นของเม็ดพลาสติก |
 อบเม็ดพลาสติกก่อนใช้ ลดความเร็วรอบสกรู ตรวจสอบสถานที่เก็บเม็ดพลาสติก โดยให้เก็บในที่มิดชิด |
 |
 เส้นผ่าศูนย์กลางท่อไม่กลม |
 |
 |
|
 อุณหภูมิของท่อยังไม่เย็นพอขณะอยู่ในส่วนดึงท่อ |
 ตรวจสอบอุณหภูมิหล่อเย็น เพื่อให้ท่อมีอุณหภูมิเย็น เพียงพอก่อนเข้าส่วนดึงท่อ |
 |
|
 อุปกรณ์ปรับขนาดไม่เหมาะสม หรือมีขนาดไม่ถูกต้อง |
 ตรวจสอบอุปกรณ์ปรับขนาด |
 |
 ผิวท่อด้านนอก/ด้านในไม่เรียบ |
 |
 |
|
 ระยะห่างของ die แคบเกินไป |
 ปรับเพิ่มระยะห่าง die |
 |
|
 ปัญหาความชื้นของเม็ดพลาสติก |
 อบเม็ดพลาสติกก่อนใช้ ลดความเร็วรอบสกรู ตรวจสอบสถานที่เก็บเม็ดพลาสติก โดยให้เก็บในที่มิดชิด |
 |
|
 อุปกรณ์ปรับขนาดไม่ตรงกับชุดหัวดายน์ |
 ตรวจสอบการติดตั้งให้ตรงกัน |
 |
|
 หากรอยตำหนิเกิดที่ผิวท่อด้านล่าง ปัญหาอาจเกิดจากระบบน้ำหล่อเย็นไม่ทั่วถึง |
 ติดตั้งระบบน้ำหล่อเย็นในส่วนด้านล่างเพิ่ม |
 |
|
 ความเร็วของการอัดรีดที่สูงเกินไปอาจทำให้เกิด melt fracture ได้ |
 เพิ่มอุณหภูมิหลอมเหลวและ ลดรอบการอัดรีดลง |
 |
|
 สิ่งปนเปื้อนติดบริเวณ mandrel หรือ sizing sleeves |
 ตรวจสอบความสะอาดที่ mandrel หรือ sizing sleeves |
 |
|
 ช่วงอุณหภูมิหลอมเหลวของเม็ดพลาสติก ต่ำเกินไป |
 เพิ่มอุณหภูมิหน้าดายน์ เพิ่มอุณหภูมิการอัดรีด |
 |
 ตำหนิที่เกิดขึ้นบนผิวท่อ บริเวณหน้าดายน์ |
 |
 |
|
 มีความร้อนสูงเกินไป |
 ตรวจสอบระบบอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ |
 |
|
 มีสิ่งปนเปื้อน |
 ตรวจสอบสิ่งปนเปื้อนของเม็ดพลาสติก และสารเติมแต่งเม็ดพลาสติกก่อนใช้งาน เก็บเม็ดพลาสติกให้อยู่ในที่ๆ ปราศจากความชื้น และฝุ่นละออง |
 |
|
 การผสมของเม็ดพลาสติกและสารเติมแต่งเม็ดพลาสติกที่ไม่เหมาะสม |
 เพิ่มความเร็วรอบหรือลดรูพรุนของแผ่น screen pack เพื่อให้เกิดความดันย้อนกลับ (back pressure) มากเพื่อให้ผสมกันดีขึ้น |
 |
|
 ตรวจสอบสถานที่เก็บเม็ดพลาสติก โดยให้เก็บในที่มิดชิด |
 อบเม็ดพลาสติกก่อนใช้งาน ลดความเร็วรอบสกรู ตรวจสอบสถานที่เก็บเม็ดพลาสติก โดยให้เก็บในที่มิดชิด |
 |
 ความหนาผนังท่อไม่สม่ำเสมอ |
 |
 |
|
 อุณหภูมิในชุดหัวดายน์มีความร้อน/เย็นเป็นช่วงๆ |
 ตรวจสอบอุปกรณ์ให้ความร้อน ภายในชุดหัวดายน์ |
 |
|
 ติดตั้งชุดหัวดายน์และ ชุดอุปกรณ์ดึงท่อไม่เสมอกัน |
 ปรับตั้งชุดหัวดายน์และ ชุดอุปกรณ์ดึงท่อให้เสมอกัน |
 |
|
 ติดตั้งแกนหัวดายน์ไม่เหมาะสม |
 ปรับตำแหน่งแกนหัวดายน์ให้เหมาะสม |
 |
งานเส้นใยและเส้นเทป |
ลักษณะของปัญหา |
สาเหตุที่เป็นไปได้ |
แนวทางการแก้ไข |
 ความแข็งแรง ของเส้นใยต่ำเกินไป |
 |
 |
|
 อัตราการดึงยืด ต่ำเกินไป |
 เพิ่มอัตราดึงยืด |
 |
 เส้นใยมี %การยืดตัว เหลือมากเกินไป |
 |
 |
|
 อัตราการดึงยืด ต่ำเกินไป |
 เพิ่มอัตราดึงยืด |
 |
 เกิดคราบเกาะที่หัวดาย |
 |
 |
|
 มีการปนเปื้อนสารที่ไม่ทนต่อความร้อนอยู่ |
 ตรวจสอบเม็ดพลาสติกและส่วนผสมที่ใช้ |
 |
|
 อุณหภูมิการขึ้นรูปสูงเกินไป |
 ลดอุณหภูมิการขึ้นรูปและอุณหภูมิดาย |
 |
 เส้นใยขาดขณะดึงยืด |
 |
 |
|
 อุณหภูมิอ่างน้ำร้อนต่ำเกินไป |
 ปรับเพิ่มอุณหภูมิอ่างน้ำร้อน |
 |
|
 อัตราเท่ายืดมากเกินไป |
 ปรับลดอัตราเท่ายืด |
 |
|
 ความเร็วในการอัดรีดสูงเกินไป |
 ปรับลดความเร็วในการอัดรีด |
 |
|
 ลูกกลิ้งดึงยืดทำงาน หรืออยู่ในสภาพไม่เหมาะสม |
 ปรับการทำงานของลูกกลิ้งดึงยืด ให้ดึงยืดอย่างสม่ำเสมอ แก้ไขไม่ให้เส้นใยบนผิวลูกกลิ้งลื่นไถล |
 |
|
 มีพลาสติกเสื่อมสภาพบริเวณดาย |
 ตรวจสอบส่วนผสมอื่น เช่น เม็ดสีซึ่งอาจเกิดการเสื่อมสลายได้ ตรวจสอบอุณหภูมิการขึ้นรูป |
 |
|
 มีสิ่งแปลกปลอมปนอยู่ในเนื้อพลาสติก หรือเกิดจากเนื้อพลาสติกไหม้ |
 ตรวจสอบพลาสติกที่ใช้ และระบบป้อนพลาสติก ถอด และทำความสะอาดเครื่องอัดรีดและหัวดาย ตรวจสอบตะแกรง |
 |
|
 เกิดช่องว่างในเนื้อพลาสติก Void |
 เพิ่มอุณหภูมิอ่างน้ำเย็น ลดอุณหภูมิในการอัดรีด ปรับระยะห่างระหว่างหน้าดาย และน้ำหล่อเย็นให้กว้างขึ้น |
 |
|
 เกิด Melt Fracture |
 เพิ่มอุณหภูมิในการอัดรีด |
 |
 เส้นใยขาดที่หัวดาย |
 |
 |
|
 อุณหภูมิการขึ้นรูปไม่เหมาะสม |
 ปรับอุณหภูมิการขึ้นรูปให้เหมาะสม |
 |
|
 มีสิ่งแปลกปลอมปนอยู่ในเนื้อพลาสติก |
 ตรวจสอบพลาสติกที่ใช้ และระบบป้อนพลาสติก ตรวจสอบตะแกรง |
 |
|
 มีสิ่งแปลกปลอมปนอยู่ในเนื้อพลาสติก หรือเกิดจากเนื้อพลาสติกไหม้ |
 ทำความสะอาดเครื่องอัดรีดและหัวดาย |
 |
 เส้นใยมีขนาดไม่สม่ำเสมอ |
 |
 |
|
 เส้นใยเกิดลื่นหรือเลื่อนบนลูกกลิ้งดึงยืด |
 ตรวจสอบและปรับผิวของลูกกลิ้งดึงยืดให้เรียบ เพิ่มแรงกดของลูกกลิ้งหนีบให้แน่นขึ้น |
 |
|
 ลักษณะการอัดรีดเป็นช่วงๆ ไม่ต่อเนื่อง Surging หรือการดึงยืดไม่สม่ำเสมอ |
 ตรวจสอบระบบการอัดรีด และการดึงยืด |
 |
|
 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของดายไม่สม่ำเสมอ จากการสะสมของสิ่งสกปรก |
 ตรวจสอบและทำความสะอาดหัวดาย |
 |
งานเป่าเข้าแบบ |
ลักษณะของปัญหา |
สาเหตุที่เป็นไปได้ |
แนวทางการแก้ไข |
 เกิดรอยเส้นแนวยาวที่ผิวชิ้นงาน หรือผิวพาริสัน |
 |
 |
|
 มีสิ่งแปลกปลอมหรือพลาสติกไหม้ ตกค้างและเกาะอยู่ บริเวณดาย |
 ทำความสะอาดดาย ตรวจสอบวัตถุดิบอื่นๆ เช่นเม็ดพลาสติกหลอม และเม็ดสี |
 |
 เกิดฟองอากาศที่พาริสัน |
 |
 |
|
 สันสกรูในช่วงป้อนเม็ดพลาสติกลึกเกินไป |
 ตรวจเช็คระยะลึกของสันสกรู โดยเปรียบเทียบ กับเครื่องอื่นๆ ที่ไม่เกิดปัญหา |
 |
|
 ความเร็วรอบสกรูสูงเกินไป |
 ลดความเร็วรอบสกรู |
 |
|
 วัตถุดิบมีความชื้น |
 ตรวจสอบเม็ดพลาสติกที่ใช้ |
 |
 เกิดรอยปุ่มหรือฟองอากาศบนผิว ของชิ้นงาน |
 |
 |
 ผิวชิ้นงานหยาบ ไม่เรียบ ไม่มันเงา |
 |
 |
|
 เกิด Melt Fraction ของเนื้อพลาสติกเหลว |
 ปรับลดความเร็วในการอัดรีด ปรับเพิ่มอุณหภูมิที่หัวดาย ปรับความกว้างของระยะห่างดาย |
 |
 รอยประกบด้านข้างไม่สมบูรณ์ |
 |
 |
|
 การออกแบบแม่พิมพ์ไม่เหมาะสม หรือสภาวะที่ใช้ขึ้นรูปไม่เหมาะสม |
 แก้ไขแม่พิมพ์ให้สามารถประกบปิดได้สนิทขึ้น ปรับเพิ่มอุณหภูมิที่หัวดาย ปรับเพิ่มแรงปิดแม่พิมพ์ ปรับเพิ่มความดันของลมเป่า |
 |
 รอยประกบที่ก้นขวด Pinch-off ไม่สมบูรณ์ |
 |
 |
|
 เกิดจากการตั้ง Condition ของการขึ้นรูปไม่เหมาะสม หรือการออกแบบแม่พิมพ์บริเวณแนวประกบ Pinch-off ไม่เหมาะสม |
 ทบทวนการออกแบบในส่วนของ Pinch-off ให้เหมาะสม ปรับลดอุณหภูมิที่บริเวณแนวประกบที่ก้นขวด เพิ่มเวลาในการเป่าและปิดแม่พิมพ์ให้นานขึ้น |
 |
 ความหนาของพาริสันไม่สม่ำเสมอ ในแนวเส้นรอบวง |
 |
 |
|
 ดายพินอยู่ในตำแหน่งไม่สมดุล |
 ปรับตำแหน่งดายพินให้เหมาะสม |
 |
 ความหนาของ Parison ไม่สม่ำเสมอในแนวดิ่ง |
 |
 |
|
 เกิดการไหลยืดลงด้านล่าง Drawdown ของพลาสติกมากเกินไป เนื่องจากน้ำหนักตัวของพลาสติกเหลว |
 ปรับลดอุณหภูมิการขึ้นรูป ปรับเพิ่มความเร็วในการอัดรีด ปรับเพิ่มความเร็วในการปิดแม่พิมพ์ ใช้พลาสติกที่มีดรรชนีการไหลต่ำลง |
 |
งานฉีดเข้าแบบ |
ลักษณะของปัญหา |
สาเหตุที่เป็นไปได้ |
แนวทางการแก้ไข |
 ผิวชิ้นงานไม่มันเงา |
 |
 |
|
 เนื้อพลาสติกสัมผัสกับผิวแม่พิมพ์ไม่ดีพอ |
 เพิ่มความดันในการฉีด และความเร็วในการฉีด เพิ่มปริมาณเนื้อพลาสติกหลวต่อการฉีด เพิ่มความดันย้ำ |
 |
|
 อุณหภูมิพลาสติกเหลวต่ำเกินไป |
 ปรับเพิ่มอุณหภูมิกระบอกฉีด |
 |
|
 อุณหภูมิแม่พิมพ์ต่ำเกินไป |
 ปรับเพิ่มอุณหภูมิแม่พิมพ์ |
 |
|
 เกิดจากการขัดเงาผิวด้านในแม่พิมพ์ไม่ดีพอ |
 ทำการขัดเงาผิวในแม่พิมพ์ |
 |
 เกิดการโก่งงอ Warpage |
 |
 |
|
 เวลาในการหล่อเย็นน้อยเกินไป |
 เพิ่มเวลาการหล่อเย็นให้นานขึ้น |
 |
|
 เวลาในการฉีดย้ำนานเกินไป |
 ปรับลดเวลาในการย้ำ |
 |
|
 ความดันการฉีดย้ำมากเกินไป |
 ปรับลดความดันย้ำลง |
 |
 เกิดครีบ Flashing |
 |
 |
|
 อุณหภูมิพลาสติกเหลวสูงเกินไป |
 ปรับลดอุณหภูมิพลาสติกเหลว |
 |
|
 ความดันในการฉีดมากเกินไป |
 ปรับลดความดันในการฉีด |
 |
|
 ความเร็วในการฉีดสูงเกินไป |
 ปรับลดความเร็วในการฉีด |
 |
 เกิดรอยยุบ Sink Mark |
 |
 |
|
 เวลาการหล่อเย็นของชิ้นงาน (Cooling Time) สั้นเกินไป |
 ปรับลดอุณหภูมิแม่พิมพ์ และเพิ่มเวลาการหล่อเย็น |
 |
|
 พลาสติกเกิดการหดตัวมากเกินไป เมื่อเย็นตัวเนื่องจาก อุณหภูมิพลาสติกเหลวสูงเกินไป |
 ปรับลดอุณหภูมิกระบอกฉีด |
 |
|
 ปริมาณเนื้อพลาสติกเหลวต่อ Shot ไม่พอเพียง |
 เพิ่มปริมาณเนื้อพลาสติก |
 |
|
 ความดันในการฉีดต่ำเกินไป |
 ปรับเพิ่มความดันในการฉีด ปรับเพิ่มความดันย้ำ และเพิ่มเวลาในการฉีด |
 |
 เกิดรอยไหม้ Scorch หรือ Burn |
 |
 |
|
 การระบายอากาศภายในแม่พิมพ์ โดยเฉพาะส่วน ปลายสุดไม่เพียงพอ จึงเกิดรอยไหม้จากการเสียดสี และสะสมของเนื้อพลาสติก |
 เพิ่มรูระบายอากาศที่แม่พิมพ์ |
 |
|
 อุณหภูมิสะสมของพลาสติก ในแม่พิมพ์สูงเกินไป |
 ปรับลดอุณหภูมิกระบอกฉีด |
 |
 เกิดรอยเชื่อมประสาน |
 |
 |
|
 อุณหภูมิแม่พิมพ์ต่ำเกินไป |
 ปรับเพิ่มอุณหภูมิแม่พิมพ์ |
 |
|
 ความดันในการฉีดต่ำเกินไป |
 ปรับเพิ่มความดันในการฉีด |
 |
|
 การไหลของพลาสติกเหลวช้าเกินไป |
 ปรับเพิ่มอุณหภูมิกระบอกฉีดใช้เม็ดพลาสติกที่มีอัตราการไหลเพิ่มขึ้น |
 |
 เกิดรอยแหว่ง ไม่เต็ม |
 |
 |
|
 อุณหภูมิแม่พิมพ์ต่ำเกินไป ทำให้พลาสติกเหลวไหลไม่ดี |
 ปรับเพิ่มอุณหภูมิแม่พิมพ์ |
 |
|
 เกิดแรงต้านการไหล ในระบบทางเข้าและการเติม พลาสติกเหลวเข้าแม่พิมพ์ |
 เพิ่มขนาดของ Gate ให้ใหญ่ขึ้น หรือลดความยาว Gate ให้สั้นลง ปรับเพิ่มขนาดของ Sprue และ Runner ให้ใหญ่ขึ้น หรือลดความยาวของ Sprue และ Runner ให้สั้นลง |
 |
|
 การไหลของพลาสติกเหลวช้าเกินไป |
 ปรับเพิ่มอุณหภูมิกระบอกฉีด หรือปรับเพิ่มความเร็วฉีด |
 |
งานฟิล์ม |
ลักษณะของปัญหา |
สาเหตุที่เป็นไปได้ |
แนวทางการแก้ไข |
 การอัดรีดเป็นช่วงๆ ไม่ต่อเนื่อง |
 |
 |
|
 อุณหภูมิใต้ถังบรรจุเม็ดสูงเกิน ทำให้เม็ดไหลไม่ต่อเนื่อง |
 ลดอุณหภูมิใต้ถังบรรจุเม็ดให้เหมาะสม |
 |
|
 อุณหภูมิการขึ้นรูปในกระบอกไม่เหมาะสม |
 ตรวจสอบระบบการควบคุมอุณหภูมิ |
 |
|
 ปริมาณเม็ดพลาสติกในถังบรรจุเม็ด หรือช่วงป้อนเม็ดไม่เพียงพอ |
 ตรวจสอบระบบการป้อนพลาสติก และเพิ่มอุณหภูมิช่วงป้อน (Feed Zone) |
 |
 ลูกโป่งแตก มีรูรั่ว หรือฟองอากาศ |
 |
 |
|
 วัตถุดิบเปียกชื้น |
 ทำวัตถุดิบให้แห้ง เช่น อบให้แห้ง/ตากแดด |
 |
|
 เกิดการเสื่อมสภาพของเม็ดพลาสติกในเครื่องอัดรีด |
 เปลี่ยนตะแกรงใหม่หากพบว่าตะแกรงขาด ทำความสะอาด Extruder/ หัวดายหากพบว่ามีพลาสติกหลอม ตกค้างที่ Extruder หรือ Die |
 |
|
 มีสิ่งแปลกปลอมปนเปื้อนในพลาสติก |
 ตรวจสอบระบบป้อนเม็ดพลาสติก |
 |
|
 เกิด และเจลที่ผิวฟิล์ม |
 ตรวจสอบระบบป้อนเม็ดพลาสติก หากพบว่ามีสิ่งแปลกปลอม เช่น ผงฝุ่น เศษพลาสติก และอื่นๆ ปะปนอยู่ เปลี่ยนตะแกรงใหม่หากพบว่าตะแกรงขาด ทำความสะอาด Extruder/ หัวดายหากพบว่ามีพลาสติกหลอม ตกค้างที่ Extruder หรือ Die ตรวจสอบคุณภาพเม็ดพลาสติก และเม็ดหลอมที่ใช้ผสม หากพบการเสื่อมสภาพของเม็ดพลาสติก รีไซเคิลที่นำมาผสม เปลี่ยนวัตถุดิบ/ หรือทำการเพิ่มอุณหภูมิในช่วง ส่วนผสม (Mixing Zone) ให้เท่ากับช่วงท้ายของส่วนอีดรีดหากมี วัตถุดิบที่มี ความหนืดสูงผสมอยู่ |
 |
 ลูกโป่งเบี้ยว ไม่สมมาตร |
 |
 |
|
 ตะแกรงตัน |
 เปลี่ยนตะแกรง |
 |
|
 การจัดวางตำแหน่งและระดับของวงแหวนลมเป่า ไม่เหมาะสม |
 ปรับแต่งระยะวงแหวนลม (air ring) |
 |
|
 ความหนาบางไม่สม่ำเสมอ |
 ตรวจสอบและควบคุมความหนาของฟิล์ม |
 |
 ลูกโป่งสั่น และส่าย |
 |
 |
|
 อัตราลมเป่าจากจานลมสูงเกินไป |
 ปรับอัตราและทิศทางลมเป่า |
 |
|
 อุณหภูมิพลาสติกเหลวสูงเกินไป |
 ปรับลดอุณหภูมิกระบอกสูบลง |
 |
 ความหนาบางไม่สม่ำเสมอ ในแนวเครื่องจักร (MD) |
 |
 |
|
 ลูกโป่งเกิดการแกว่งและส่าย |
 ปรับลดอุณหภูมิกระบอกสูบลง หากพบว่าอุณหภูมิพลาสติกเหลวสูงเกินไป ปรับอัตราและทิศทางลมเป่า อัตราลมเป่าจากจานลมสูงเกินไป |
 |
|
 เกิดจากการอัดรีดที่เป็นช่วงๆไม่ต่อเนื่อง |
 ตรวจสอบระบบ การป้อนพลาสติก และเพิ่มอุณหภูมิช่วงป้อน หากพบว่าปริมาณน้ำหล่อเย็นใต้ ถังบรรจุเม็ดไม่เพียงพอ ตรวจสอบระบบการควบคุมอุณหภูมิ หากพบว่า อุณหภูมิการขึ้นรูปใน กระบอกไม่เหมาะสม ลดอุณหภูมิใต้ถังบรรจุเม็ด ให้เหมาะสมหากพบว่าอุณหภูมิใต้ ถังบรรจุเม็ดสูงเกิน ทำให้เม็ดไหลไม่ต่อเนื่อง |
 |
 ความหนาบางไม่สม่ำเสมอ ในแนวขวางเครื่องจักร (TD) |
 |
 |
|
 การควบคุมความหนาบางไม่เหมาะสม |
 ปรับการควบคุม โดยใช้ Adjustment Bolt |
 |
|
 อุณหภูมิรอบนอกดาย และลูกโป่งไม่เหมาะสม ทำให้พลาสติกหลอม ไหลออกมาไม่สม่ำเสมอ |
 ปรับอุณหภูมิพลาสติกหลอม |
 |
|
 อุณหภูมิรอบนอกดายและลูกโป่งไม่เหมาะสม ทำให้พลาสติกหลอมไหลออกมาไม่สม่ำเสมอ |
 ตรวจสอบอัตราการเป่าลม |
 |
|
 เกิดการสกปรก สะสมที่หัวดาย ทำให้การไหลไม่สม่ำเสมอ |
 ทำความสะอาดดาย |
 |
 การฉีกขาดง่ายตามแนว เครื่องจักร (แนวMD) |
 |
 |
|
 เกิดจากการที่ผิวฟิล์มมีความเสียหาย หรือรอยบาก |
 ตรวจสอบสภาพผิวฟิล์ม ทำความสะอาดหัวดาย/ ตรวจสอบหรือเปลี่ยนอุปกรณ์ |
 |
|
 ช่องว่างดายกว้างเกินไป |
 ปรับลดช่องว่างดาย |
 |
|
 ความสูงของแนวเส้นแข็งตัวของฟิล์ม ต่ำเกินไป |
 ปรับเพิ่มความสูง ของแนวเส้นแข็งตัวของฟิล์มแต่ให้ระวัง การส่ายของลูกโป่ง และคุณสมบัติอื่นที่อาจเปลี่ยนไป |
 |
|
 อัตราการเบ่งของลูกโป่ง (BUR) ต่ำเกินไป ทำให้การจัดเรียงตัวของโมเลกุลตามแนว TD น้อยเกินไป |
 ปรับเพิ่มอัตราการเบ่ง หรือใช้หัวดาย ที่มีขนาดเล็กลง |
 |
 ฟิล์มเกิดรอยยับย่น |
 |
 |
|
 ลูกโป่งไม่เป็นเนื้อเดียวกัน |
 ปรับอุณหภูมิดาย ให้เท่ากับอุณหภูมิพลาสติกเหลว ปรับดายให้ได้ลูกโป่งที่เป็นเนื้อเดียวกัน ทำความสะอาดจานลม |
 |
|
 ลูกกลิ้งรวบฟิล์ม และดายไม่ได้ระดับ |
 ปรับให้ได้ระดับ |
 |
|
 มีเทปหรือสิ่งสกปรกติดบนลูกกลิ้ง |
 ทำความสะอาดลูกกลิ้ง |
 |
|
 อัตราการดึงม้วนฟิลม์ไม่เหมาะสม |
 ปรับระบบม้วนฟิล์ม |
 |
|
 ลมที่เป่าจากวงแหวนลมไม่เหมาะสม |
 ปรับวงแหวนลม เพื่อปรับแต่งความแรงของลม |
 |
|
 เกิดลักษณะการอัดรีดเป็นช่วงๆ ไม่ต่อเนื่อง / พลาสติกออกมาไม่สม่ำเสมอ |
 ตรวจสอบระบบการป้อนพลาสติก และเพิ่มอุณหภูมิช่วงป้อน หากพบว่า ปริมาณน้ำหล่อเย็นใต้ถังบรรจุเม็ดไม่เพียงพอ ตรวจสอบระบบการควบคุมอุณหภูมิ หากพบว่าอุณหภูมิการขึ้นรูป ในกระบอกไม่เหมาะสม ลดอุณหภูมิใต้ถังบรรจุเม็ดให้เหมาะสม หากพบว่า อุณหภูมิใต้ ถังบรรจุเม็ดสูงเกิน ทำให้เม็ดไหลไม่ต่อเนื่อง |
 |
|
 ลูกโป่งไม่นิ่ง |
 ปรับแต่งระยะวงแหวนลม (air ring) ด้วยเครื่องมือที่มีความละเอียด โดยใช้ caliper และ split level ทำความสะอาดและปรับวงแหวนลม เพื่อให้ลมที่เป่าออกมามีความสม่ำเสมอ และคงที่ |
 |
 เกิด Fish eye หรือสิ่งแปลกปลอมที่ผิวฟิล์ม |
 |
 |
|
 เกิดจากมีวัตถุดิบที่มีความหนืดสูงผสมอยู่ |
 เปลี่ยนวัตถุดิบ/ หรือทำการเพิ่มอุณหภูมิในช่วง ส่วนผสม (Mixing Zone) ให้เท่ากับช่วงท้ายของส่วนอัดรีด |
 |
|
 เกิดการเสื่อมสภาพของเม็ดพลาสติกรีไซเคิลที่นำมาผสม |
 ตรวจสอบคุณภาพเม็ดพลาสติก และเม็ดหลอมทีใช้ผสม |
 |
|
 มีพลาสติกหลอมตกค้างที่ Extruder หรือ Die |
 ทำความสะอาด Extruder/ หัวดาย |
 |
|
 ตะแกรงขาด |
 เปลี่ยนตะแกรงใหม่ |
 |
|
 มีสิ่งแปลกปลอม เช่น ผงฝุ่น เศษพลาสติก และอื่นๆ ปะปนอยู่ |
 ตรวจสอบระบบป้อนเม็ดพลาสติก |
 |
 ผิวฟิล์มหยาบ/ขรุขระ/ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน |
 |
 |
|
 อุณหภูมิที่หัวดายต่ำเกินไป |
 เพิ่มอุณหภูมิที่หัวดาย |
 |
|
 วัตถุดิบทีใช้มีความแตกต่างของอัตราการไหลมาก |
 เปลี่ยนวัตถุดิบ/ หรือทำการเพิ่มอุณหภูมิในช่วง Mixing ให้เท่ากับช่วงท้ายของ Extruder |
 |
|
 หัวดายสกปรก |
 ทำความสะอาดหัวดาย |
 |
|
 อุณหภูมิที่ทำให้พลาสติกหลอมต่ำเกินไป |
 เพิ่มอุณหภูมิการขึ้นรูป |
 |
|
 มีเนื้อพลาสติกมากเกินไป |
 ลดรอบสกรู เพื่อลดเนื้อพลาสติก |
 |
|
|
|
|
Copyright © 2011 all reight reserve Liackseng.com |